วันจันทร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Learning Outcomes 8

wednesday17 th October 2018





วันนี้อาจารย์ให้พวกเราแบ่งกลุ่มโดย กลุ่มละ 5คน แล้วให้เราเลือกกิจกรรมจากเพื่อนในกลุ่ม  มากลุ่มละ 1กิจกรรม
โดยแต่ละกลุ่ม ได้กิจกรรมดังนี้
กิจกรรมที่ 1 : ลูกโป่งพองโต
กิจกรรมที่ 2 : ลาวาปะทุ ภูเขาไฟระเบิด ตู้ม ! ตู้ม!
กิจกรรมที่ 3 : ปั๊มขวดและลิปเทียน
กิจกรรมที่ 4 : Shape of Bub-Bub-Bubble
กิจกรรมที่ 5 : เรือดำน้ำ


ต่อมาอาจารย์ให้พวกเราช่วยกันเขียนแผนกิจกรรมแล้วมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
1. ชื่อกิจกรรม 
2.วัตถุประสงค์ 
3.วัสดุอุปกรณ์
4.ขั้นตอนการทดลองกิจกรรมวิทยาศาสตร์
5.ผลที่ได้รับ 


หลังจากนั้นอาจารย์ให้พวกเราทั้งห้องช่วยกันเขียนแผนโครงการ
 โดยมีหัวข้อดังนี้
1. ชื่อกิจกรรม
2.วัตถุประสงค์ 
3.วัสดุอุปกรณ์
4.ขั้นตอนการทดลองกิจกรรมวิทยาศาสตร์

5.ผลที่ได้รับ 







การประเมิน
ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์และช่วยเพื่อนทำงานกลุ่ม
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆทุกคนตั้งใจฟังที่อาจารย์มอบหมายงานและ                          ช่วยกันทำงานกลุ่ม
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์อธิบายงานที่มอบหมายอย่างละเอียด                                  ชัดเจน 

Learning Outcomes 7

wednesday 10th October 2018
ความรู้ที่ได้รับ

อาจารย์เปิดสื่อ การทดลองวิทยาศาสตร์เรื่องมหัศจรรย์ฟองสบู่
และอาจารย์ให้นำเสนอการทดลองต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว
กิจกรรมการทดลอง

1.ฟองสบู่
(นางสาว ทิพย์วิมล นวลอ่อน)
 เป็นการทดลองของดิฉันเอง






วัสดุอุปกรณ์
- กะละมัง
- น้ำยาล้างจาน
- น้ำสะอาด
- ลวด
- ลวดกำมหยี่
- ช้อน 
ขั้นตอนการทดลอง
1.เทน้ำสะอาด1ขวด ลงกะละมัง ผสมน้ำยาล้างจาน 5ช้อน
 ข้นให้เข้ากัน
2.ดัดลวดเป็นรูปทรงต่างๆ
3.นำลวดที่ดัดเป็นรูปทรงต่างๆพันกับลวดกำมะหยี่
4.นำลวดจุ่มน้ำยาล้างจานแล้วยกขึ้นเป่าเบาๆ

สรุปการทดลอง
รูปทรงของฟองสบู่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับรูปร่างของลวดที่เราดัดเป็นรูปอะไรก็ตาม ฟองสบู่จะเป็นทรงกลมเสมอ เนื่องจากพื้นผิวของฟองสบู่จะเป็นชั้นเหลวบางๆ ซึ่งมีแรงตึงผิวคอยดึง ให้ฟองสบู่คงรูปได้
''ฟองสบู่จะใช้หลักของแรงตึงผิว เพื่อให้เกิดรูปทรงที่มีพื้นที่ผิวน้อยที่สุด''

2.ลูกโป่งพองโต
(นางสาวเพ็ญประภา บุญมา)




วัสดุอุปกรณ์
- ลูกโป่ง
-ขวดน้ำ
-เบคกิ้งโซดา
-น้ำส้มสายชู
ขั้นตอนการทดลอง
1.นำเบคกิ้งโซดาใส่ในลูกโป่ง
2.นำน้ำส้มสายชูใส่ขวดครึ่งขวด
3.นำลูกโป่งสวมเข้ากับขวด
สรุปการทดลอง
การเกิดปฎิกิริยาเบคกิ้งโซดากับน้ำส้มสายชูเมื่อเทผสมกันจะเกิดคาร์บอนไดออกไซด์ทำให้ลูกโป่งพองโตขึ้น 

3.การแยกเกลือกับพริกไทย
(นางสาวจีรนันท์ ไชยชาย)


วัสดุอุปกรณ์
-เกลือ
-พริกไทย
-ผ้าขนสัตว์
-ช้อนพลาสติก
-จาน
-ลูกโป่ง
ขั้นตอนการทดลอง
1.ผสมเกลือและพริกไทยลงในจาน
2.ถูช้อนพลาสติกด้วยผ้าขนสัตว์
3.สังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น
สรุปการทดลอง
เมื่อนำช้อนพลาสติกมาถูกับผ้าขนสัตว์จะเกิดไฟฟ้าสถิต 
ประจุไฟฟ้าสถิตสามารถสร้างขึ้นได้เมื่อของสองสิ่งสัมผัสกัน
4.ภาพซ้ำไปซ้ำมา
(นายปฏิภาณ จินดาดวง)


วัสดุอุปกรณ์
-กรรไกร
-สก๊อตเทป
-ดินสอ
-กระดาษ
ขั้นตอนการทดลอง
1.วาดรูปนก ระบายสีแล้วตัดออกมา
2.นำรูปนกมาเรียงต่อกันเรื่อยๆ
3.สังเกตรายละเอียดของภาพที่ต่อล
4.เปลี่ยนรูปภาพอื่นมาลองต่ออีก
5.สังเกตรายละเอียดของภาพที่ต่อ
6.สรุปการทำกิจกรรม

การประเมิน
ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์และทำการทดลอง
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆทุกคนตั้งใจฟังและตั้งใจดูการทดลอง

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์อธิบายการทดลองของเพื่อนแต่ละคนอย่างละเอียด


Learning Outcomes 6

wednesday 3th October 2018


วันนี้ดิฉันไม่ได้เข้าเรียน เพราะไปรับทุนการศึกษา





##สรุปการเรียนการสอนของเพื่อนๆ##

กิจกรรมที่ 1: ปั้มขวดลิปเทียน
กิจกรรมที่ 2: เมล็ดพืชเต้นระบำ
กิจกรรมที่ 3: แรงดึงผิวของน้ำ
กิจกรรมที่ 4: แสงกิจกรรมที่ 5: กระจกเงา
กิจกรรมที่ 6: ไหลแรงหรือไหลอ่อน
กิจกรรมที่ 7: ดินน้ำมันสู่ยอดปราสาท
กิจกรรมที่ 8: ทำนองตัวเลข
กิจกรรมที่ 9: พับและดัด
กิจกรรมที่ 10: แสงสีและการมองเห็น